การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง – กรณีศึกษาห้องเรียนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถพัฒนาครูและนักเรียนได้จาก
· การสะท้อนภาพให้เห็นอย่างชัดเจนขึ้น โดยคำนึกถึงแง่มุมต่างๆในชีวิตและในโลกความเป็นจริง
· ท้าทายให้ผู้เรียนได้ใช้และพัฒนาทักษะการคิด ในขณะที่ผู้เรียนเรียนรู้เพื่อเชื่องโยงให้เห็น “ภาพรวม”
· เหมาะสมกับผู้เรียนหลากหลายรูปแบบและสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความชื่นชอบของนักเรียน
· การจัดการหลักสูตรที่หนาแน่นขึ้นได้
· บรรลุผลลัพธ์จากเนื้อหา
· ชีวิตประจำวันในโรงเรียนดูมีความ ”เข้าท่า” มากขึ้น เนื่องจากกิจกรรมต่างๆ เชื่องโยงกันมากขึ้น
· การให้นักเรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้มากขึ้น
· สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ในโรงเรียนวางแผนและทำงานเป็นทีม
· การจัดโครงสร้างเนื้อหาที่มีความสมเหตุสมผลสำหรับครูและการประเมินวัดผลของผลที่ได้รับกับพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลาย
· นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะและคุณค่าของความรู้จากเนื้อหาและประสบการณ์
· สร้างทักษะนักเรียนให้พัฒนาและตอบสนองกับประสบการณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย
· เชื่องโยงวัตถุประสงค์กับกิจกรรมได้อย่างชัดเจนขึ้น
· การเกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ รู้สึกสนุกและสามารถสะท้อนภาพการเรียนการสอนได้
หัวใจสำคัญในการวางแผนการสอนตามแนวทางนี้คือการจัดความสัมพันธ์ที่เชื่องโยงระหว่างสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนกับ “โลกรอบตัวเรา” (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม และสังคมศึกษา) และพื้นที่อื่นๆ ที่เรามีส่วนเกี่ยวข้องหรือโลกที่เราต้องเข้าใจ (ภาษา คณิตศาสตร์ ศิลปะ ละคร ดนตรี และแง่มุมของเทคโนโลยี)
ชั้นเรียนแบบบูรณาการ
เชื่องต่อความรู้เดิมกับความรู้ใหม่
กระตุ้นให้เกิดการคิดแบบสะท้อน
ทำให้การเรียนรู้มีความหมาย
ตระหนักถึงข้อแตกต่างของแต่ละคน
|
มีลักษณะอย่างไร
- ครูทำงานและวางแผนร่วมกับนักเรียน
- จัดโต๊ะและเก้าอี้เป็นกลุ่มย่อย4-6โต๊ะ
- ความสนใจมุ่งไปที่ชิ่นงานหรือแหล่งเรียนรู้
- ผนังห้องโชร์ผลงานนักเรียนและสื่อเสนอให้เห็นโครงสร้างต่างๆ
- มีพื้นที่การอ่านที่น่าใช้งาน (โชฟาและหนังสือต่างๆ)
- ปรับเข้าสู่กิจกรรมหรือชิ้นงานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น อะไรที่นักเรียนทราบแล้ว หรือ อะไรที่นักเรียนต้องการรู้
- การประเมินจากครูแบบไม่เป็นทางการ และแบบสรุปความ
- นักเรียนและครูสร้างโครงร่างระบบการเรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนแสดงออกว่ากำลังเรียนรู้ในหลากหลายวิธี เช่น พูด เขียน วาด หรือเล่นละคร
- มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา
- นักเรียนมีพื้นที่ในการเรียนรู้และทำงานที่เหมาะสม
- หลักสูตรเชื่องโยงและเกี่ยวข้องกับความต้องการและความสนใจของนักเรียน
- การจัดการห้องเรียนอนุญาตให้นักเรียนสามารถหาแหล่งเรียนรู้ได้ อนุญาตให้ครูสามารถให้เวลากับนักเรียน และสามารถกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกถึงการเรียนรู้ของเขาในแง่มุมต่างๆ ของหลักสูตร
- หลักสูตรการเรียนรู้ที่มีการพัฒนา เพื่อให้นักเรียนได้เรียนในระดับของตน และได้การท้าทายจากหลักสูตรในเวลาเหมาะสม
|
มีโสตสำเนียงอย่างไร
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นและช่วยเหลือกัน
- ครูมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นรายบบุคคลและเป็นกลุ่ม
- นักเรียนมีความมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ในห้องผ่านการพูด เขียน ร้องเพลงหรือเล่นละคร
- นักเรียนสามารถถกเถียงความเข้าใจ แลกเปลี่ยนกันและสร้างความเชื่องโยงได้
- นักเรียนมีความมั่นใจในการอธิบาย แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้น ครูและผู้ปกครอง
- ครูชี้แจงวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
- เปิดโอกาสให้นักเรียนโต้เถียงและแสดงความเห็นต่างเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
- มีเสียงการแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรียน และระหว่างครูกับนักเรียน
- นักเรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับเพื่อ ครูและผู้ปกครอง
|
ให้ความรู้สึกอย่างไร
- บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
- มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
- เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
- บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
- มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
- เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
- บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
- มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
- เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
- นักเรียนรู้สึกมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนกับคนอื่น
- บรรยากาศที่สนับสนุน ให้นักเรียนรู้สึกสบายในการแสดงความคิดและเสนอความคิดเห็น
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น